[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.5
เมนูหลัก
ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ] | [ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด 122 คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์ 2 คน

[pawat]

[pranee]
ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
ชื่อ :
ข้อความ (ตัวแสดงอารมณ์)

 
  

นวัตกรรม
    เรื่อง : สุขภาพดีแบบผสมผลาน บ้านท่าแตะ น้ำชุ

เจ้าของผลงาน : ศูนย์สุขภาพชุมชน
อังคาร ที่ 27 เดือน มิถุนายน พ.ศ.2560
เข้าชม : 538    จำนวนการดาวน์โหลด : 0 ครั้ง
Not Rated stars เฉลี่ย : Not Rated จาก 0 ครั้ง.

บทคัดย่อ :
1. ชื่อผลงาน : สุขภาพดีแบบผสมผสาน บ้านท่าแตะ นาชุ
2. ชื่อหน่วยงาน และกลุ่มงาน : งานศูนย์สุขภาพชุมชนโพทะเล กลุ่มงานเวชศาสตร์ชุมชนและครอบครัว
3. ที่มาของผลงาน หลักการและเหตุผล
จากการดาเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบ้านท่าแตะน้าชุ ม.7 ชุมชนให้ความสนใจและตื่นตัว
ในการดูแลสุขภาพมากขึ้น ในเรื่อง 3 อ 2 ส (อาหาร,อารมณ์,ออกกาลังกาย,สุรา,สูบบุหรี่) จากการดาเนินงานใน
ชุมชน พบว่า อาหารในการบริโภคผักยังไม่หลากหลายและไม่ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน ตลอดจนการออกกาลังกาย
ยังมีรูปแบบเดิมๆ จึงได้มีการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับชุมชนในการหาแนวทางร่วมกันเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพให้ได้ผลมากที่สุด
4. วัตถุประสงค์/เป้าหมายของผลงาน
1. เพื่อให้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
2. เพื่อเป็นหมู่บ้านต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
3. เพื่อเพิ่มความหลากหลายในรูปแบบใหม่ๆ ไม่ให้เกิดความเบื่อหน่ายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
5. ขั นตอนการดาเนินงาน
ก่อนปรับปรุง
1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นรายบุคคลในเรื่องของอาหารเน้นการรับประทานผักพื้นบ้านที่มีในชุมชน ซึ่ง
ส่วนใหญ่จะเป็นผักชนิดเดียวกันไม่หลากหลาย
2. รูปแบบการออกกาลังกายมีการราไม้พรองและแอโรบิก
หลังปรับปรุง
1. ดึงครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2. อาหารในเรื่องผัก วางแผนร่วมกับชุมชนในการปลูกผักร่วมกัน โดยมีการสารวจข้อมูลการปลูกผัก ชนิด
ของผัก และจานวนหลังคาเรือนที่ปลูก
- สอบถามความต้องการกินผักในแต่ละบ้าน
- หาข้อตกลงร่วมกันในการปลูกผักแต่ละชนิด แต่ละครอบครัว โดยทาข้อตกลงร่วมกันว่าแต่ละบ้านต้องนา
ผักมาสลับสับเปลี่ยนในการรับประทานร่วมกัน
- ขอรับสนับสนุนพันธุ์ผักจากเกษตรอาเภอและแบ่งปันพันธุ์ผักในหมู่บ้าน
3. เพิ่มรูปแบบการออกกาลังกายให้ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย เช่น ปั่นจักรยาน ราวง 3ส เต้นแอโรบิก
6. งบประมาณที่ใช้
- เมล็ดพันธุ์ผักได้รับการสนับสนุนจากเกษตรอาเภอโพทะเล
- ได้รับการสนับสนุนทีมวิทยากรให้ความรู้จากโรงพยาบาลโพทะเล ศูนย์อนามัยที่ 8 นครสวรรค์
- อบต. สนับสนุนงบประมาณ 10,000 บาท ใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการดาเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
- อบต. ประสานครูสอนราวง 3ส
7. ประโยชน์ที่ได้รับ ตัวชี วัดความสาเร็จของผลงาน/ผลลัพธ์
1. จานวนครัวเรือนหมู่ที่ 7 ทั้งหมด 125 หลังคาเรือน เดิมปลูกผัก 31 หลังคาเรือน มีการปลูกและบริโภค
ผักเพิ่มขึ้น 92 หลังคาเรือน
2. จานวนครอบครัวที่สามารถลดรอบเอวได้ 43 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 34.4
3. ครอบครัวอบอุ่นจากการทากิจกรรมร่วมกัน
4. เกิดความเข้มแข็งของประชาชนในหมู่บ้านจากการร่วมทากิจกรรม
5. องค์กรภายนอกเห็นความสาคัญ เข้ามาให้การสนับสนุน
6. ประชาชนให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น จากรูปแบบที่หลากหลาย ครอบคลุมกลุ่มวัย
และโดนใจประชาชน
7. สามารถเป็นต้นแบบให้กับหมู่บ้านใกล้เคียงในเรื่องของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ


ดาวน์โหลด  ( บทคัดย่อ) 

นวัตกรรม 5 อันดับล่าสุด

      กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มหกรรมคุณภาพ โรงพยาบาลโพทะเล 24/ส.ค./2566
      รักนะแต่ไม่เปิดเผย 27/มิ.ย./2560
      นวัตกรรมงานธุรการ 27/มิ.ย./2560
      เหล็กงอแห้งไว 27/มิ.ย./2560
      สุขภาพดีแบบผสมผลาน บ้านท่าแตะ น้ำชุ 27/มิ.ย./2560


ออกแบบโดย : Photalae Hospital Modified to ATOMYMAXSITE 2.5
พัฒนาโดย ศูนย์ข้อมูลและคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลโพทะเล
ติดต่อโรงพยาบาลโพทะเล เบอร์ 056-681115 Fax 056-681193 E-mail ptlhos11261@gmail.com เบอร์ฉุกเฉินEMS 1669
สร้างโดย : Photalae Modified to ATOMYMAXSITE 2.5